Author: Saveme@777

7 แนวทาง “ห่างกันก่อน”
Social Distancing หรือการรักษาระยะห่างทางสังคม‼️ถือเป็นอีกหนึ่งมาตรการที่ภาครัฐแนะนำให้ทำกัน เพื่อเป็นการลดการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือไวรัสโควิด 19 (COVID-19) สำหรับสถานที่หนึ่งซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ นั่นก็คือที่ทำงาน(open book)(pencil)(laptop) ในวันนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ จึงขอนำเสนอ 7 แนวทาง ห่างแบบไหนในที่ทำงาน ถึงจะปลอดภัยจากโควิด-19 มาฝากทุกท่านจ้า Social Distancing หรือการรักษาระยะระหว่างสังคม ถือเป็นอีกหนึ่งมาตรการที่ภาครัฐแนะนำให้ทำกันเพื่อเป็นการลดการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือไวรัสโควิด 19 (COVID-19) สำหรับสถานที่หนึ่งซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ นั่นก็คือที่ทำงาน ดังนั้นเมื่อเราควรใช้วิธี Social Distancing ที่จะขอเรียกว่า”ห่างกันก่อน” ห่างกันแบบไหนถึงจะช่วยป้องกันโควิด-19 ได้ดี โควิด-19: Social Distancing คืออะไร ต้องอยู่ห่างกันแค่ไหนถึงจะไม่ติดไวรัส 1.หลีกเลี่ยงการพบปะกันระหว่างบุคคล ให้ใช้การสื่อสาร การประชุมแบบออนไลน์ อีเมล์ หรือโทรศัพท์เมื่อจำเป็น ไม่เว้นแม้แต่จะอยู่ในตึกเดียวกัน 2.ควรมีการประชุมกันแบบสั้นๆ และควรประชุมในห้องใหญ่ ที่คนสามารถนั่งห่างกันได้อย่างต่ำประมาณ 3 ฟุต หลีกเลี่ยงการจับมือ 3.จำกัดการเดินทางที่ไม่จำเป็น หรือยกเลิก เลื่อนเวลาการประชุมที่ไม่จำเป็น รวมไปถึงการชุมนุม เวิร์กช้อป หรือการเทรนนิ่งต่างๆ 4.ไม่รวมตัวกันในห้องทำงาน แพนทรี่ หรือสถานที่ๆ ผู้คนรวมตัวกันอยู่ […]
Readmore
LONG COVID เจ็บ…แต่ไม่จบ
ภาวะลองโควิด อาการเรื้อรังที่ตามมาของคนเคยติดเชื้อโควิด-19 Long COVID คืออะไร? การติดเชื้อโควิด-19 นับว่าเป็นโรคที่ส่งผลกระทบทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพราะว่าหลังจากรักษาหายแล้ว แต่หลายคนยังรู้สึกเหมือนยังไม่หายดี เพราะว่าระหว่างการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเพื่อไปจับกับเซลล์โปรตีนของบางอวัยวะ ทำให้เกิดการอักเสบในร่างกาย เป็นผลให้อวัยวะนั้นๆ ได้รับความเสียหาย ส่งผลกระทบไปทั่วร่างกาย เช่น อาการปอดบวม หรือ เนื้อปอดถูกทำลาย โดยระดับความรุนแรงจะขึ้นอยู่กับความรวดเร็วในรักษา และการกำจัดเชื้อโควิดในร่างกาย เราเรียกภาวะนี้ว่า “โควิดระยะยาว” โดยกระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่า สามารถพบได้ถึง 30-50% สาเหตุหลักมาจาก เคลียดสะสมหรือเป็นผลข้างเคียงของยาที่ใช้ เช่น ยาในกลุ่มสเตียรอยด์ โรคแฝง หรือบางรายอาจติดเชื้อโควิดซ้ำแต่คนละสายพันธุ์ Long COVID อาการเป็นอย่างไร? ภาวะแทรกซ้อนของโควิด-19 ใครคือกลุ่มเสี่ยง? ป่วยเป็นโควิดหายแล้ว ต้องดูแลตนเองอย่างไร? หลังการติดเชื้อโควิด ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานตามธรรมชาติและมักจะไม่ติดเชื้อโควิดซ้ำในช่วง 1-3 เดือนแรกหลังหายป่วย แต่ภูมิต้านทานจะค่อยๆ ลดลงและไม่คงอยู่ตลอด ทำให้มีโอกาสติดเชื้อซ้ำได้อีกในอนาคต จึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เช่น ใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา หมั่นล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ 70% รับประทานอาหารร้อน ช้อนกลาง และไม่ไปในแหล่งชุมชนแออัด หรือสถานที่อากาศไม่ถ่ายเท ดังนั้น ผู้ที่หายจากโควิด-19 ต้องสังเกตตัวเองอย่างละเอียด ประเมินร่างกายตนเองอยู่เสมอ และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายอย่างถูกต้อง […]
Readmore
แยกอาการ “โควิด-19” กับโรคอาการใกล้เคียง รู้ไว้จะได้ไม่ตื่นตระหนก
ทำความรู้จักอาการของโรค “โควิด-19” แยกให้ออกเพราะอาการคล้ายโรค ภูมิแพ้ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายที่ไวต่อสารก่อภูมิแพ้มากกว่าปกติ ทำให้เกิดอาการผิดปกติกับอวัยวะที่สัมผัสสารก่อภูมิแพ้นั้น ๆ ซึ่งผู้ป่วยโรคนี้แต่ละคนจะมีอาการแตกต่างกันและความรุนแรงไม่เท่ากัน เพราะชนิดของสารก่อภูมิแพ้ที่ได้รับและการตอบสนองของร่างกายแต่ละบุคคลต่างกัน อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้จะเกิดตามอวัยวะที่มีการอักเสบจากการกระตุ้นของสารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ ผื่นคัน คันจมูก จาม มีน้ำมูก คัดจมูก ไปจนถึงไอ หอบ แน่นหน้าอก หายใจไม่คล่อง เป็นต้น ดูหนัง Netflix การรักษาควรดูแลตัวเอง หลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการแพ้ ใช้ยาตามแพทย์สั่ง อาจล้างจมูก พ่นยาจมูก เพื่อป้องกันไม่ให้อาการกำเริบได้ แต่หากเป็นภูมิแพ้และสงสัยว่าติดเชื้อโควิด-19 ควรรีบมาพบแพทย์เพื่อปรึกษาความเสี่ยง โรคไข้หวัด เป็นโรคติดเชื้อที่พบได้บ่อย เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ มักพบในช่วงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลง ความรุนแรงของโรคไม่มาก และสามารถหายเองได้ภายในไม่กี่วัน สามารถติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื้อที่กระจายจากการไอ จาม หรือมือที่เปื้อนเชื้อโรคสัมผัสจมูกหรือตา ในผู้ใหญ่อาการจะน้อยมากอาจมีแค่คัดจมูกและน้ำมูกไหล (ยกเว้นผู้ที่มีโรคประจำตัวเป็นโรคทางการหายใจ) อาการของโรคมักเป็นไม่เกิน 2 – 5 วัน แต่อาจมีน้ำมูกไหลนาน 10 – […]
Readmore
อุปสรรคในการปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 สำหรับไวรัสผันแปร
ไวรัสโคโรนาที่ทำให้คนป่วยเป็นโควิด-19 ที่ถูกระบุเป็นครั้งแรกในปลายปีคศ. 2020 (พศ. 2563) มีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมไปจากเดิมมาก จากการระบาดที่เริ่มต้นในประเทศจีนจนถึงปัจจุบันที่การระบาดแพร่กระจายไปทั่วโลกมีไวรัสโคโรนาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหลายชนิดที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีความกังวลมากเพราะไวรัสผันแปรบางชนิดแพร่ระบาดได้ดีขึ้นกว่าเดิม และไวรัสผันแปรบางชนิดก่อให้เกิดการป่วยที่รุนแรงมากขึ้น ไวรัสผันแปรเหล่านี้ทำให้เกิดคลื่นการระบาดในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกเป็นระยะๆ ไวรัสผันแปรโอมะครอนซึ่งเป็นไวรัสที่แพร่ระบาดได้ดีมากสามารถหลบหลีกวัคซีนโควิด-19 ที่มีใช้อยู่ได้ง่ายขึ้นนำไปสู่การปะทุระบาดอีกระลอกหนึ่งในหลายๆ ประเทศทำให้บริษัทวัคซีนหลายบริษัทต้องปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 ของตนให้เหมาะสมกับไวรัสที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อที่จะยับยั้งการแพร่ระบาดของไวรัสผันแปรโอมะครอนและไวรัสผันแปรรุ่นใหม่ๆ ที่คงจะเกิดขึ้นอีกต่อไป แต่การปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 ที่มีใช้กันอยู่อาจจะไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิด ในวารสาร JAMA ซึ่งเป็นวารสารวิชาการของสมาคมแพทยศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกามีบทความแสดงที่อธิบายถึงอุปสรรคของการปรับปรุงวัคซีนโควิด-19 เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากไวรัสผันแปรชนิดต่างๆ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้[1] วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล (seasonal influenzy vaccines) ได้รับการพัฒนาปรับปรุงทุกปีโดยขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ของไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่แพร่ระบาดไปทั่วโลกของแต่ละปี ทำให้หลายคนโดยเฉพาะผู้ที่ยังติดโควิด-19 อยู่ทั้งๆ ที่ได้รับฉีดวัคซีนโควิด-19 ครบแล้วสองเข็มสงสัยว่าทำไมวัคซีนต่อต้านไวรัสซาร์สโควีทู (SARS-CoV-2) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดใดทั้งๆ ที่มีไวรัสผันแปรหลายชนิดโผล่ขึ้นและหายไปหมดแล้ว วัคซีนโควิด-19 ที่มีอยู่ในปัจจุบันพัฒนาขึ้นสำหรับโปรตีนเดือย (spike protein) ของ Wuhan-Hu-1 หรือไวรัสซาร์สโควีทูรุ่นดั้งเดิม แต่ไวรัสมีการเปลี่ยนแปลงมากมายตั้งแต่การวิเคราะห์จัดลำดับสารพันธุกรรมของ Wuhan-Hu-1 ที่ทำเมื่อเดือนมกราคม คศ. 2020 ที่รวมถึงไวรัสสายพันธุ์ที่น่ากังวล (variants of concern) ตั้งแต่แอลฟะ (Alpha) ถึง โอมะครอน (Omicron) […]
Readmore
10 Steps กักตัวอย่างไรให้ปลอดภัยไม่แพร่เชื้อ
ใครที่ควรกักตัว14 วัน 10 Steps กักตัวอย่างไรให้ปลอดภัยไม่แพร่เชื้อ
Readmore
ข้อควรรู้ของวัคซีนโควิด-19
เป็นที่ทราบกันอย่างดีแล้วว่า เราทุกคนควรจะได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นวิธีการปลอดภัยที่จะช่วยป้องกันจากโรคนี้ได้ ข้อควรรู้ของวัคซีนโควิด-19 จะมีอะไรบ้างนั้น ตามไปดูกันเลย ทำไมวัคซีนโควิด-19 ต้องฉีด 2 โดส ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นเมื่อฉีดวัคซีนโควิด-19 การดูแลตัวเองหลังฉีดวัคซีน ควรเฝ้าระวังอาการหลังการฉีดวัคซีน 30 นาที อาการที่อาจเกิดขึ้นส่วนใหญ่จะไม่รุนแรง อาจมีไข้ ปวดเมื่อย หรือปวดตำแหน่งที่ฉีด สามารถทานยาพาราเซตามอลได้ หรือสามารถหายได้เองประมาณ 3-4 วัน หากมีอาการแพ้อย่างรุนแรงส่วนใหญ่จะเกิดอาการภายใน 15 นาที ซึ่งโอกาสเกิดผลข้างเคียงหลังฉีดวัคซีนมีเพียง 10% ของผู้ที่ได้รับวัคซีน ฉีดวัคซีนแล้วยังติดเชื้อได้หรือไม่ ยังสามารถติดเชื้อได้ แต่ความรุนแรงจะลดลงมาก ถึงแม้ว่าจะได้รับการฉีดวัคซีนแล้วก็ไม่ควรประมาทต่อการติดเชื้อ ยังต้องรักษามาตรการของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป โดยสวมหน้ากากตลอดเวลา เว้นระยะห่างทางสังคม หมั่นล้างมือ และออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อของตนเองในกรณีที่วัคซีนยังออกฤทธิ์ไม่เต็มที่ ระยะเวลาการป้องกันของวัคซีนนานแค่ไหน ต้องฉีดกระตุ้นเมื่อไร เนื่องจากเป็นวัคซีนใหม่ที่มีการใช้ไม่นาน องค์ความรู้ในปัจจุบันยังไม่ทราบว่า ภูมิคุ้มกันที่ถูกกระตุ้นโดยวัคซีนโควิด-19 จะอยู่ในร่างกายได้นานเท่าใด จึงยังไม่สามารถตอบได้ว่าควรมีการฉีดกระตุ้นอีกเมื่อใด เบื้องต้นพบว่าสามารถป้องกันโรคได้นานประมาณ 6 เดือนขึ้นไป วัคซีนจะป้องกันเชื้อโควิดที่กลายพันธุ์ได้หรือไม่ การกลายพันธุ์ของไวรัสเป็นเรื่องปกติและเกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สายพันธุ์อังกฤษ สายพันธุ์แอฟริกาใต้ โดยไวรัสที่มีการกลายพันธุ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายได้รวดเร็วและกำลังอยู่ระหว่างการศึกษาถึงผลกระทบต่อ […]
Readmore
9 ข่าวปลอม โควิด-19 ที่คุณต้องรู้!
ข่าวปลอม หรือ เฟคนิวส์ ยังคงมีในทุกยุคสมัย โดยในยุคที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 นี้ ก็มีข่าวปลอมออกมาอย่างมากมายเช่นกัน ซึ่งบางข่าวก็ดูน่าเชื่อถือและสร้างความเดือดร้อนหรืออันตรายให้กับผู้ที่หลงเชื่อเป็นอย่างมาก เจมาร์ทประกันภัย จึงได้รวบรวมข่าวปลอมโควิด-19 ที่คุณควรทราบ มาฝากกันค่ะ จากที่มีการนำชุดตรวจโควิด-19 แบบ Rapid Test มาขายออนไลน์ และระบุว่าประชาชนสามารถซื้อมาตรวจเองได้เลย จริง ๆ แล้ว กระทรวงสาธารณสุข ไม่อนุญาตให้ขายชุดตรวจเร็วในช่องทางออนไลน์ เพราะชุดตรวจ Rapid Test เป็นการตรวจว่ามีภูมิคุ้มกันต่อโรคโควิด-19 หรือไม่ ซึ่งต้องตรวจและแปลผลโดยบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น เพราะหากแปลผลผิด ก็จะทำให้ผู้ติดเชื้อที่ไม่รู้ตัวแพร่เชื้อไปถึงผู้อื่นได้ ข่าวปลอม โควิด-19 ข่าวที่ 2 : หน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask ไม่สามารถช่วยป้องกันโควิด-19 ได้ จากกระแสการแชร์ข้อมูลว่า หน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask หรือหน้ากากที่ไม่ใช่ทางการแพทย์ ไม่สามารถช่วยป้องกันโควิด-19 ได้นั้น รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ให้ความรู้ว่า หน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask ที่มีคุณภาพการผลิตดี แผ่นกรองหลายชั้น […]
Readmore
แพ้อากาศหรือโควิด-19 เราป่วยเพราะอะไรกันแน่
กลับมาอีกแล้วกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ‘ โควิด-19 ’ พร้อมอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อยในช่วงนี้ หลายคนเริ่มรู้สึกไม่สบายตัวจากอากาศที่เย็นขึ้น จากการรับฝุ่น PM2.5 หรือจากเชื้อไวรัสโควิด-19ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่าที่เราป่วยนี้เป็นเพราะอะไรกันแน่?! การ ‘แพ้อากาศ’นั้น มีอาการแตกต่างจาก การติด ‘เชื้อไวรัสโควิด-19’ เราสามารถสังเกตุได้โดย แพ้อากาศ ผู้ป่วยมักมีอาการ – คัดจมูกน้ำมูกไหล– ไอจามหายใจลำบาก– แน่นหน้าอก– มีผดผื่นตามผิวหนัง– ท้องร่วง หากผู้ป่วยมีการแพ้อากาศจากมลภาวะทางฝุ่น PM2.5 ไม่ควรปล่อยไว้ ยิ่งเฉพาะกับเด็ก ผู้สูงอายุ และสตรีมีครรภ์ เพราะอาจเกิดอันตรายต่อสุขภาพถึงขั้นร้ายแรงต่อชีวิตได้ ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์เฉพาะทางหูคอจมูก โรงพยาบาลสินแพทย์ลำลูกกาได้ เรามีการใช้ Hepa Filter กรองอากาศ และตรวจวัดคุณภาพอากาศในทุกวัน เพื่ออากาศที่บริสุทธิ์ในโรงพยาบาล ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ผู้ป่วยมักจะมีอาการ -มีไข้สูงกว่า 37 องศาเซลเซียส-คัดจมูก ไอแห้ง-อ่อนเพลีย หนาวสั่น-ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน-จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส หากผู้ป่วยมีอาการคล้ายโควิด-19 หรือมีความเสี่ยงที่จะติด จากทั้งสภาพแวดล้อมหรือบุคคลใกล้ตัว ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม และรับการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด
Readmore
คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation)
คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation) สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 (COVID-19) คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation) สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 (COVID-19) ตัวเล่นไฟล์วิดีโอ คำแนะนำในการสังเกตอาการตนเอง – ให้สังเกตอาการตนเองวัดอุณหภูมิและ oxygen saturation ทุกวัน – หากมีอาการแย่ลง คือมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้เช่นหอบเหนื่อยไข้สูงลอยไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ให้รีบโทรติดต่อโรงพยาบาลที่ท่านรักษาอยู่ – เมื่อจะต้องเดินทางไป โรงพยาบาลให้ใช้รถยนต์ส่วนตัวหรือรถที่โรงพยาบาลมารับไม่ใช้รถสาธารณะให้ทุกคนในรถใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่เดินทางหากมีผู้ร่วมยานพาหนะมาด้วยให้เปิดหน้าต่างรถเพื่อเพิ่มการระบายอากาศ โรคโควิด-19 เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในตระกูลโคโรนาไวรัส สามารถติดต่อจากคนสู่คนได้โดยการหายใจเอาละอองฝอยน้ำมูก น้ำลายของผู้ที่ติดเชื้อเข้าไปจากการ ไอ จาม และพูดคุยกัน เชื้อยังสามารถเข้าสู่ร่างกายทางปาก จมูก และตา ผ่านมือที่ปนเปื้อนเชื้อจากการสัมผัสพื้นผิวต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่มีเชื้ออยู่ ดังนั้นผู้ที่เป็นโควิด-19 ที่ไม่ได้อยู่ในโรงพยาบาลจึงจำเป็นต้องแยกตัวเองจากผู้อื่นขณะอยู่ที่บ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 14 วันนับตั้งแต่วันที่เริ่มป่วย เพื่อลดการแพร่เชื้อให้ผู้อื่นหลังจากนั้นอาจไม่ต้องแยกตัวเองแต่ แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยและระมัดระวังสุขอนามัย ส่วนบุคคลเป็นพิเศษต่อจนครบ 1 เดือน ดูหนังใหม่ ผู้ป่วยโควิด-19 ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรงอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลหรืออยู่โรงพยาบาลเพียงระยะสั้นๆ แล้วไปพักฟื้นต่อที่บ้านหรือสถานพักฟื้น ซึ่งผู้ป่วยที่มีอาการน้อยส่วนใหญ่จะค่อยๆ ดีขึ้นจนหายสนิท อย่างไรก็ตามในช่วงปลายสัปดาห์แรก ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการมากขึ้นได้ ผู้ป่วยควรสังเกตอาการตนเองเมื่อไม่แน่ใจสามารถโทรศัพท์ปรึกษาหรือเข้าไปรับการตรวจประเมินได้โดยติดต่อไปยังโรงพยาบาลก่อนจะทำให้ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมได้ ลักษณะของบ้านพักอาศัยที่เหมาะสม “บ้านหรือที่พักอาศัยของผู้เป็นโควิด-19 ในช่วงที่ต้องแยกตัวควรจะต้องมีลักษณะดังนี้ มิฉะนั้นอาจต้องหาสถานที่อื่นที่เหมาะสม” – มีผู้จัดหาอาหารและของใช้จำเป็นให้ได้ไม่ต้องออกไปจัดหานอกบ้านด้วยตนเอง – อยู่อาศัยตามลำพังหรือ ร่วมกับผู้อื่นโดยมีห้องส่วนตัว – ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมบ้านสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำเรื่องสุขอนามัยและการแยกจากผู้ป่วยได้ – สามารถติดต่อกับโรงพยาบาลได้และเดินทางมาโรงพยาบาลได้สะดวก ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคโควิด-19 ในระหว่างแยกตัวควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดดังนี้ […]
Readmore
อัปเดตไกด์ไลน์รักษาโควิด19 ล่าสุด
อัปเดตไกด์ไลน์รักษาโควิด19 ล่าสุด ปรับการให้ยาต้านไวรัสกลุ่มปัจจัยเสี่ยงรุนแรง และ LAAB แนวทางเวชปฏิบัติ การรักษาโควิด19 ฉบับล่าสุด 18 เม.ย.2566 ปรับการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรครุนแรง และปรับเงื่อนไขของการให้แอนติบอดีสำเร็จรูป Long-acting Antibody หรือ LAAB ส่วนไม่มีอาการ อาการไม่รุนแรงไม่ต้องใช้ยา เมื่อวันที่ 18 เมษายน นพ.มานัส โพธาภรณ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) อัปเดตสถานการณ์โควิด19 : สายพันธุ์ แนวทางการรักษา ผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์กรมการแพทย์ ว่า หลังจากผ่านเทศกาลสงกรานต์ ช่วงท้ายเทศกาลเริ่มมีข่าวการติดเชื้อโควิด เชื้อกลายพันธุ์ หรือการรักษาที่อาจทำให้เกิดการสับสน โดยเมื่อวานนี้ ทางคณะกรรมการวิชาการได้มีการทบทวนเรื่องต่างๆเกี่ยวกับวิชาการ และจากการประชุมร่วมกันจึงจำเป็นต้องมีการสื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์ ไม่ให้เกิดความสับสนเกิดขึ้น หลังสงกรานต์โควิดเพิ่ม ขอให้มาฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สถานการณ์การระบาดทั่วโลกเริ่มลดลง สำหรับประเทศไทย ต้นเดือน เม.ย.มีผู้ป่วยน้อยมาก แต่หลังสงกรานต์ เริ่มเพิ่มขึ้น 2.5 เท่าจากสัปดาห์ก่อนหน้า คาดว่าหลังสงกรานต์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป็นระลอกเล็ก สำหรับสัปดาห์ที่ผ่านมามีผู้ป่วยเสียชีวิต […]
Readmore