Tag: มาตรการป้องกัน

7 แนวทาง “ห่างกันก่อน”
Social Distancing หรือการรักษาระยะห่างทางสังคม‼️ถือเป็นอีกหนึ่งมาตรการที่ภาครัฐแนะนำให้ทำกัน เพื่อเป็นการลดการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือไวรัสโควิด 19 (COVID-19) สำหรับสถานที่หนึ่งซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ นั่นก็คือที่ทำงาน(open book)(pencil)(laptop) ในวันนี้กรมกิจการผู้สูงอายุ จึงขอนำเสนอ 7 แนวทาง ห่างแบบไหนในที่ทำงาน ถึงจะปลอดภัยจากโควิด-19 มาฝากทุกท่านจ้า Social Distancing หรือการรักษาระยะระหว่างสังคม ถือเป็นอีกหนึ่งมาตรการที่ภาครัฐแนะนำให้ทำกันเพื่อเป็นการลดการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือไวรัสโควิด 19 (COVID-19) สำหรับสถานที่หนึ่งซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคต่างๆ นั่นก็คือที่ทำงาน ดังนั้นเมื่อเราควรใช้วิธี Social Distancing ที่จะขอเรียกว่า”ห่างกันก่อน” ห่างกันแบบไหนถึงจะช่วยป้องกันโควิด-19 ได้ดี โควิด-19: Social Distancing คืออะไร ต้องอยู่ห่างกันแค่ไหนถึงจะไม่ติดไวรัส 1.หลีกเลี่ยงการพบปะกันระหว่างบุคคล ให้ใช้การสื่อสาร การประชุมแบบออนไลน์ อีเมล์ หรือโทรศัพท์เมื่อจำเป็น ไม่เว้นแม้แต่จะอยู่ในตึกเดียวกัน 2.ควรมีการประชุมกันแบบสั้นๆ และควรประชุมในห้องใหญ่ ที่คนสามารถนั่งห่างกันได้อย่างต่ำประมาณ 3 ฟุต หลีกเลี่ยงการจับมือ 3.จำกัดการเดินทางที่ไม่จำเป็น หรือยกเลิก เลื่อนเวลาการประชุมที่ไม่จำเป็น รวมไปถึงการชุมนุม เวิร์กช้อป หรือการเทรนนิ่งต่างๆ 4.ไม่รวมตัวกันในห้องทำงาน แพนทรี่ หรือสถานที่ๆ ผู้คนรวมตัวกันอยู่ […]
Readmore
แยกอาการ “โควิด-19” กับโรคอาการใกล้เคียง รู้ไว้จะได้ไม่ตื่นตระหนก
ทำความรู้จักอาการของโรค “โควิด-19” แยกให้ออกเพราะอาการคล้ายโรค ภูมิแพ้ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายที่ไวต่อสารก่อภูมิแพ้มากกว่าปกติ ทำให้เกิดอาการผิดปกติกับอวัยวะที่สัมผัสสารก่อภูมิแพ้นั้น ๆ ซึ่งผู้ป่วยโรคนี้แต่ละคนจะมีอาการแตกต่างกันและความรุนแรงไม่เท่ากัน เพราะชนิดของสารก่อภูมิแพ้ที่ได้รับและการตอบสนองของร่างกายแต่ละบุคคลต่างกัน อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้จะเกิดตามอวัยวะที่มีการอักเสบจากการกระตุ้นของสารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ ผื่นคัน คันจมูก จาม มีน้ำมูก คัดจมูก ไปจนถึงไอ หอบ แน่นหน้าอก หายใจไม่คล่อง เป็นต้น ดูหนัง Netflix การรักษาควรดูแลตัวเอง หลีกเลี่ยงจากสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการแพ้ ใช้ยาตามแพทย์สั่ง อาจล้างจมูก พ่นยาจมูก เพื่อป้องกันไม่ให้อาการกำเริบได้ แต่หากเป็นภูมิแพ้และสงสัยว่าติดเชื้อโควิด-19 ควรรีบมาพบแพทย์เพื่อปรึกษาความเสี่ยง โรคไข้หวัด เป็นโรคติดเชื้อที่พบได้บ่อย เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ มักพบในช่วงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลง ความรุนแรงของโรคไม่มาก และสามารถหายเองได้ภายในไม่กี่วัน สามารถติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื้อที่กระจายจากการไอ จาม หรือมือที่เปื้อนเชื้อโรคสัมผัสจมูกหรือตา ในผู้ใหญ่อาการจะน้อยมากอาจมีแค่คัดจมูกและน้ำมูกไหล (ยกเว้นผู้ที่มีโรคประจำตัวเป็นโรคทางการหายใจ) อาการของโรคมักเป็นไม่เกิน 2 – 5 วัน แต่อาจมีน้ำมูกไหลนาน 10 – […]
Readmore
10 Steps กักตัวอย่างไรให้ปลอดภัยไม่แพร่เชื้อ
ใครที่ควรกักตัว14 วัน 10 Steps กักตัวอย่างไรให้ปลอดภัยไม่แพร่เชื้อ
Readmore
คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation)
คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation) สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 (COVID-19) คำแนะนำการปฏิบัติการแยกตัวที่บ้าน (Home Isolation) สำหรับผู้ป่วยโควิด-19 (COVID-19) ตัวเล่นไฟล์วิดีโอ คำแนะนำในการสังเกตอาการตนเอง – ให้สังเกตอาการตนเองวัดอุณหภูมิและ oxygen saturation ทุกวัน – หากมีอาการแย่ลง คือมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้เช่นหอบเหนื่อยไข้สูงลอยไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ให้รีบโทรติดต่อโรงพยาบาลที่ท่านรักษาอยู่ – เมื่อจะต้องเดินทางไป โรงพยาบาลให้ใช้รถยนต์ส่วนตัวหรือรถที่โรงพยาบาลมารับไม่ใช้รถสาธารณะให้ทุกคนในรถใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่เดินทางหากมีผู้ร่วมยานพาหนะมาด้วยให้เปิดหน้าต่างรถเพื่อเพิ่มการระบายอากาศ โรคโควิด-19 เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในตระกูลโคโรนาไวรัส สามารถติดต่อจากคนสู่คนได้โดยการหายใจเอาละอองฝอยน้ำมูก น้ำลายของผู้ที่ติดเชื้อเข้าไปจากการ ไอ จาม และพูดคุยกัน เชื้อยังสามารถเข้าสู่ร่างกายทางปาก จมูก และตา ผ่านมือที่ปนเปื้อนเชื้อจากการสัมผัสพื้นผิวต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่มีเชื้ออยู่ ดังนั้นผู้ที่เป็นโควิด-19 ที่ไม่ได้อยู่ในโรงพยาบาลจึงจำเป็นต้องแยกตัวเองจากผู้อื่นขณะอยู่ที่บ้านเป็นเวลาอย่างน้อย 14 วันนับตั้งแต่วันที่เริ่มป่วย เพื่อลดการแพร่เชื้อให้ผู้อื่นหลังจากนั้นอาจไม่ต้องแยกตัวเองแต่ แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยและระมัดระวังสุขอนามัย ส่วนบุคคลเป็นพิเศษต่อจนครบ 1 เดือน ดูหนังใหม่ ผู้ป่วยโควิด-19 ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรงอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลหรืออยู่โรงพยาบาลเพียงระยะสั้นๆ แล้วไปพักฟื้นต่อที่บ้านหรือสถานพักฟื้น ซึ่งผู้ป่วยที่มีอาการน้อยส่วนใหญ่จะค่อยๆ ดีขึ้นจนหายสนิท อย่างไรก็ตามในช่วงปลายสัปดาห์แรก ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการมากขึ้นได้ ผู้ป่วยควรสังเกตอาการตนเองเมื่อไม่แน่ใจสามารถโทรศัพท์ปรึกษาหรือเข้าไปรับการตรวจประเมินได้โดยติดต่อไปยังโรงพยาบาลก่อนจะทำให้ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมได้ ลักษณะของบ้านพักอาศัยที่เหมาะสม “บ้านหรือที่พักอาศัยของผู้เป็นโควิด-19 ในช่วงที่ต้องแยกตัวควรจะต้องมีลักษณะดังนี้ มิฉะนั้นอาจต้องหาสถานที่อื่นที่เหมาะสม” – มีผู้จัดหาอาหารและของใช้จำเป็นให้ได้ไม่ต้องออกไปจัดหานอกบ้านด้วยตนเอง – อยู่อาศัยตามลำพังหรือ ร่วมกับผู้อื่นโดยมีห้องส่วนตัว – ผู้ที่อยู่อาศัยร่วมบ้านสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำเรื่องสุขอนามัยและการแยกจากผู้ป่วยได้ – สามารถติดต่อกับโรงพยาบาลได้และเดินทางมาโรงพยาบาลได้สะดวก ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคโควิด-19 ในระหว่างแยกตัวควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดดังนี้ […]
Readmore
โควิดลงปอดหรือยัง เช็กจาก 4 อาการนี้
ผู้ป่วยโควิด 19 ตรวจเช็กร่ายกายตัวเองหากพบ 4 อาการนี้ ให้รีบบอกแพทย์ ผู้ป่วยโควิด-19 ควรสังเกตอาการตนเองหากพบ หากรู้สึกแน่นหน้าอก หอบเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม ส่อเค้าเชื้ออาจลงปอด ในปัจจุบันผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ละคนจะมีอาการมากน้อยแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ภูมิคุ้มกัน และโรคประจำตัวของผู้ป่วย นั้นสามารถแพร่ได้ผ่านการสูดดมเข้าทางโพรงจมูกเข้าไปสู่ปอด จากการไอ จาม เสมหะ หรือการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ที่มีเชื้อไวรัสโควิด-19 หลังจากติดเชื้อผู้ป่วยอาจไม่มีอาการหรือมีอาการทั่วไป เช่น มีไข้ ไอ เจ็บคอ จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะส่งผลให้เกิดความรุนแรงของโรคและเชื้ออาจลงสู่ปอดได้ คือ ผู้สูงอายุ และกลุ่มที่มีโรคร่วม ได้แก่ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งทุกชนิด และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ กลุ่มเสี่ยงเหล่านี้จึงควรระมัดระวังตนเองมากเป็นพิเศษกว่าคนปกติทั่วไป เพราะหากเชื้อลงสู่ปอดแล้ว อาจส่งผลต่อระบบภายในอื่นๆ ของร่างกายได้ และด้วยความที่ปอดหน้าที่สำคัญในการแลกเปลี่ยนของออกซิเจนในเลือด หากระดับออกซิเจนในเลือดลดลงมากเกินไป เช่น ออกซิเจนที่ไปเลี้ยงในส่วนของสมองน้อยลง จะทำให้เกิดภาวะซึม รู้สึกอ่อนเพลีย โดยในเกณฑ์ปกติระดับออกซิเจนในเลือดของร่างกายจะอยู่ที่ระดับ 97-100% […]
Readmore
COVID-19 อันตรายถึงหัวใจ
ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่หรือชื่อทางการที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศออกมาว่า COVID-19 ยังคงแพร่กระจายอย่างต่อเนื่องและทำอันตรายกับระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงวัยที่มีอายุมากกว่า 60 ปี มีโรคประจำตัว ไม่ว่าจะเป็นหลอดเลือดหัวใจหรือสมอง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตลอดจนโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด หากได้รับเชื้อ COVID-19 และปรากฏอาการโรคปอดบวม ถ้าไม่รีบรักษาอาจนำไปสู่ภาวะหัวใจวายและอวัยวะล้มเหลวหลายระบบได้ในที่สุด หัวใจกับ COVID-19 หากติดเชื้อไวรัส COVID-19 จะมีระยะฟักตัว 2 – 14 วัน โดยเชื้อสามารถแพร่กระจายได้ ถึงแม้ว่าจะไม่มีอาการแสดง โดยผู้ป่วย 1 รายสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้เฉลี่ย 2 – 4 คนขึ้นกับความหนาแน่นของประชากรและฤดูกาล โดยจะมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ น้ำมูกไหล คัดจมูก หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ความรุนแรงของโรคนี้แตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคลและร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ จากข้อมูลของวารสารการแพทย์ The Lancet ระบุว่า ในกลุ่มที่มีโรคหัวใจจะเพิ่มความเสี่ยงในการเสียชีวิตหากติดเชื้อไวรัส COVID-19 โดยผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากเชื้อไวรัส COVID-19 พบว่ามีโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง 40% ซึ่งกลุ่มนี้เมื่อได้รับเชื้อไวรัส […]
Readmore
10 พฤติกรรมเคยชิน เสี่ยง COVID-19
หยุด? อ๊ะๆ อย่าชะล่าใจ…? แม้ว่ายอดผู้ติดเชื้อ Covid-19 จะลดลงแต่เราก็ไม่ควรประมาท ไม่ดูแลตัวเองกันนะคะ=============================? สำหรับพฤติกรรมที่ควรเลิก และลด มีดังต่อไปนี้=============================? ชอบขยี้ตา แคะจมูก ?? เมื่อกลับถึงบ้านแล้ว ล้มตัวลงนอน ไม่อาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผ้าโดยทันที ?? หยิบจับของสารพัด แต่ไม่ล้างมือ ?? ไม่พกหน้ากากผ้า เจลล้างมือ ?? อยู่ใกล้กันมากเกินไปลืมเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ?? กอด หอม จับมือ คนรัก หรือคนในครอบครัว ?? มีอาการป่วย แต่ยังออกไปข้างนอกไม่กักตัวอยู่บ้าน ?? ใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น ?? กินอาหารที่ปรุงทิ้งไว้ก่อนนานแล้วหรืออาหารดิบ ?? ปาร์ตี้สังสรรค์ กับเพื่อนฝูง ? =============================สำหรับท่านที่มีพฤติกรรมดังกล่าว ควรเลิก หรือลดพฤติกรรมนั้นๆ เพื่อให้ปลอดภัยจาก Covid-19 นะคะ หนังชนโรง
Readmore
สำหรับคนสงสัยว่าติดเชื้อ COVID-19
เมื่อมีอาการไม่สบายคล้ายหวัด หรือเจ็บคอ ไอ จาม ช่วงนี้เชื่อว่าทุกคนจะหาชุดตรวจ ATK มาคัดกรองตัวเองก่อนเบื้องต้น ทว่าตรวจไปกี่อัน ผล ATK ก็เป็นลบ แต่อาการป่วยก็ยังไม่หายดี แบบนี้ ATK ให้ผลลวง หรือเราไม่ติดโควิด 19 แล้วจริง ๆ ลองมาหาความเป็นไปได้กัน พร้อมเช็กให้แน่ใจกรณีนี้ควรปฏิบัติตัวอย่างไร ต้องตรวจ RT-PCR ไหม หรือต้องกักตัวกี่วัน เหตุผลที่เรามีอาการป่วย แต่ตรวจ ATK แล้วเป็นลบ อาจเกิดจากสาเหตุนี้ 1. ไม่ได้ติดโควิด 19 แต่อาจป่วยด้วยโรคอื่น ๆ เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ภูมิแพ้อากาศ หรือไข้เลือดออก 2. ติดโควิดแล้ว แต่ตรวจ ATK เป็นลบ อาจเกิดจากปัจจัย ดังนี้ สำหรับคนที่รู้ตัวว่าเสี่ยง แถมมีอาการ ทว่าตรวจ ATK แล้วเป็นลบตลอด แนวทางปฏิบัติตัวให้ทำตามนี้
Readmore
โรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) : สิ่งที่ผู้ปกครองควรรู้
ไวรัสโคโรน่า ‘สายพันธุ์ใหม่’ คืออะไร Severe acute respiratory syndrome coronavirus (SARs-CoV-2) คือเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ซึ่งพบเป็นครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน มีชื่อว่า โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) – ‘CO’ มาจากคำว่า Corona, ‘VI’ มาจาก Virus, และ ‘D’ มาจาก Disease ที่แปลว่า ‘โรค’ โดยก่อนหน้านี้เราเอ่ยถึงโรคดังกล่าวว่า ‘โรคไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019’ หรือ ‘2019-nCoV’ ไวรัสโควิด-19 เป็นไวรัสชนิดใหม่ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับตระกูลของไวรัสที่เป็นต้นเหตุของโรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome – SARS) หรือโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง รวมทั้งโรคหวัดธรรมดาบางประเภท เชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายได้อย่างไร เชื้อไวรัสถ่ายทอดผ่านการสัมผัสโดยตรงกับฝอยละออง (Droplet) จากลมหายใจของผู้ติดเชื้อ (ที่เกิดจากการไอและจาม) การสัมผัสพื้นผิวที่มีเชื้อไวรัสปนเปื้อน ไวรัส COVID-19 อาจอยู่รอดบนพื้นผิวเป็นเวลาหลายชั่วโมง แต่ก็ถูกทำลายได้ด้วยสารฆ่าเชื้อทั่วไป โรคไวรัสโคโรน่ามีอาการอย่างไร อาการของโรคที่มีรายงาน […]
Readmore
รู้หรือไม่?! ดื่มน้ำแก้วเดียวกัน ระวังเสี่ยงโรคติดต่อได้นะ!
ระวัง! โรคเหล่านี้สามารถติดต่อกันได้ โดยการดื่มน้ำแก้วเดียวกัน หรือรับประทานอาหารจากช้อนเดียวกัน เพื่อการป้องกันความเสี่ยงติดเชื้อและเพื่อสุขอนามัยที่ดี เมื่อต้องรับประทานอาหารร่วมกัน ควรใช้ช้อนกลาง และล้างมือก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง ในแต่ละวัน ควรดื่มน้ำเท่าไรดี? ร่างกายของมนุษย์เรานั้นมีองค์ประกอบของน้ำเป็นส่วนใหญ่ โดยประกอบไปด้วยน้ำประมาณร้อยละ 60 ของน้ำหนักตัว โดยเราควรดื่มน้ำในปริมาณที่พอดี ไม่มากไปหรือน้อยไป เพื่อรักษาความสมดุลของน้ำในร่างกาย แล้วเราควรดื่มน้ำวันละเท่าไรจึงจะพอดี สถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Academy of sciences – NAS) และ สถาบันแพทยศาสตร์ (The Institute of Medicine – IOM) ได้ให้คำแนะนำในการดื่มน้ำไว้ดังนี้ และเพื่อสุขภาพที่ดี ควรดื่มน้ำในช่วงเวลาที่เหมาะสม ดังนี้
Readmore